เมื่อวันที่ 11 ธันวาคม 2565 นักเรียนจากสถาบันเทคโนโลยีการบินและอวกาศ โรงเรียนอัสสัมชัญ เดินทางขึ้นไปที่สถานีเรดาร์ฝนหลวง อ.ตาคลี จ.นครสวรรค์ ทดลองปล่อยดาวเทียมจำลองที่ประดิษฐ์ขึ้นเอง ภายใต้การดูแล ภราดาคฑาวุธ สิทธิโชคสกุล ผู้จัดการโรงเรียนอัสสัมชัญ และแนะนำของผู้เชี่ยวชาญ คณาจารย์ และนักเรียนรุ่นพี่ โดยผูกดาวเทียมจำลอง ซึ่งภายในประกอบด้วยกล้องวิดีโอโทรศัพท์มือถือที่มีระบบ gps.sms. เพื่อจะบันทึกเป็นวิดีโอและภาพถ่าย ตรวจดูสภาพอากาศภูมิประเทศ ติดบอลลูนตรวจอากาศขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 3.5 เมตร พร้อมกับกล่องเก็บบันทึกข้อมูล พร้อมทั้งยังร่วมมือกับ มหาวิทยาลัยมหิดล นำยีสต์ขึ้นไปบนความสูงจากพื้นดินประมาณ 32 กิโลเมตร ซึ่งถือเป็นชั้นของบรรยากาศดูความเปลี่ยนแปลงการเจริญเติบโตของยีสต์
โดยภารกิจส่งเสริมการทดสอบด้าน Space Bio Technology ร่วมกับทาง Brian Computer Interface Lab: BCI ของคณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล ในการทดสอบอัตราการรอดชีวิตของยีสต์และวิเคราะห์ด้วย Survivor Assay ในชั้นบรรยากาศ Startosphere
การลอยอยู่ของบอลลูน ตามสภาพอากาศปกติอยู่ประมาณ 5-6 ชั่วโมง ก็จะตกลงบนพื้นดิน ซึ่งทิศทางการเคลื่อนที่ใกล้และไกลก็จะเป็นไปตามความเคลื่อนไหวของลม หากสภาพอากาศผิดปกติบางครั้งอาจจะตกลงเร็วกว่ากำหนด หรือนานกว่ากำหนดกว่า 1 สัปดาห์ ขณะที่ทิศทางความเคลื่อนไหวก็จะสามารถตรวจสอบได้ทางสัญญาณภาพและวิดีโอที่ส่งลงมายังคอมพิวเตอร์หรือจอมือถือด้านล่าง
คณะนักเรียนและผู้เชี่ยวชาญเข้าร่วมการทดสอบ ประกอบด้วย
ผู้เชี่ยวชาญ
1. พลเอกปัญจะ ธรรมศรี ประธานที่ปรึกษาหลักสูตร วิศวกรรมป้องกันประเทศ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
2. นาวาอากาศโท ศศิศ เชื้อสมบูรณ์ นักวิจัย ศูนย์การเรียนรู้โลกและอวกาศ
3. รองศาสตราจารย์ ดร.ยศชนัน วงศ์สวัสดิ์
4. นายสุเมธ กล่อมจิตเจริญ นักศึกษาปริญญาเอก คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
สถาบันเทคโนโลยีการบินและอวกาศโรงเรียนอัสสัมชัญ
1. ภราดา คฑาวุธ สิทธิโชคสกุล ผู้จัดการโรงเรียนอัสสัมชัญ
2. นายปิติภูมิ อาชาปราโมทย์ ม.6/1
3. นายฆฤณ กวีวงศ์สุนทร ม.6/3
4. นายอัครนิรุทธิ์ ปานเดช ม.6/5
5. นายบุญฤทธิ์ ปฐมนันทพงศ์ ม.5/1
6. นายกฤยชญ์ สวิง ม.5/1
7. นายเวธน์วศิน ศิริรันต์อัสดร ม.5/1
8. นายณรงค์ภัทร ราศรีเพ็ญงาม ม.5/1
9. นายพุทธิพงศ์ สวัสดิบุญหนา ม.5/1
10. นายศรัณพร ธนพัฒน์สิรีธร ม.5/2
11. นายกฤตวัฒน์ ปุญญพัฒนกุล ม.5/4
12. นายริชภูมิ อุดมพรวิรัตน์ ม.5/4
13. นายพศิน ตันติรัฐพงศ์ ม.5/4
โดยมี มิสศศิธร ชาวระหาญ มิสจุฑามาส ยิ่งประทานพร มาสเตอร์ณัฐกิตติ์ ขวัญกิจพิศาล มาสเตอร์พชร ภูมิประเทศ เป็นที่ปรึกษา
สำหรับกิจกรรมดังกล่าว ได้เริ่มดำเนินการครั้งแรก เมื่อเกือบ 4 ปีที่ผ่านมา เพื่อการพัฒนาของเด็กเยาวชนคนรุ่นใหม่ที่สนใจศึกษา ซึ่งในอนาคตก็อาจจะเปิดเป็นหลักสูตรการเรียนการสอนต่อไป ซึ่งได้รับความสนใจจากเด็ก ๆ จำนวนมาก
ชมคลิปบรรยากาศการปล่อยบอลลูนได้ที่
https://www.facebook.com/AssumptionCollege1885/videos/691350709122530
#AC_Uniqueness_Excellence
#AC_InnovativeEntrepreneurship
------------------------------------------
Website : https://www.assumption.ac.th
Fanpage : https://www.facebook.com/AssumptionCollege1885
Fanpage : https://www.facebook.com/ACsportsTeam
Line@ Official (@assumption1885) : https://lin.ee/AgVkwFD
Instagram : https://www.instagram.com/assumption_style
YouTube : https://www.youtube.com/AssumptionCollege1885
จำนวนภาพในอัลบั้มนี้ 10 ภาพ
ข่าวที่นำอัลบั้มนี้ไปอ้างอิง (จำนวน 0 ข่าว )
หน่วยงานที่นำอัลบั้มนี้ไปอ้างอิง (จำนวน 0 หน่วยงาน )
แผนงาน (จำนวน 0 แผนงาน )
โครงการ (จำนวน 0 โครงการ )
ภาพโดยนักเรียน: ไม่ได้แจ้งในระบบ
วันที่โพสต์ : 13 ธ.ค. 2565 วันที่ถ่ายภาพ : 11 ธ.ค. 2565
เมื่อวันที่ 11 ธันวาคม 2565 นักเรียนจากสถาบันเทคโนโลยีการบินและอวกาศ โรงเรียนอัสสัมชัญ เดินทางขึ้นไปที่สถานีเรดาร์ฝนหลวง อ.ตาคลี จ.นครสวรรค์ ทดลองปล่อยดาวเทียมจำลองที่ประดิษฐ์ขึ้นเอง ภายใต้การดูแล ภราดาคฑาวุธ สิทธิโชคสกุล ผู้จัดการโรงเรียนอัสสัมชัญ และแนะนำของผู้เชี่ยวชาญ คณาจารย์ และนักเรียนรุ่นพี่ โดยผูกดาวเทียมจำลอง ซึ่งภายในประกอบด้วยกล้องวิดีโอโทรศัพท์มือถือที่มีระบบ gps.sms. เพื่อจะบันทึกเป็นวิดีโอและภาพถ่าย ตรวจดูสภาพอากาศภูมิประเทศ ติดบอลลูนตรวจอากาศขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 3.5 เมตร พร้อมกับกล่องเก็บบันทึกข้อมูล พร้อมทั้งยังร่วมมือกับ มหาวิทยาลัยมหิดล นำยีสต์ขึ้นไปบนความสูงจากพื้นดินประมาณ 32 กิโลเมตร ซึ่งถือเป็นชั้นของบรรยากาศดูความเปลี่ยนแปลงการเจริญเติบโตของยีสต์
โดยภารกิจส่งเสริมการทดสอบด้าน Space Bio Technology ร่วมกับทาง Brian Computer Interface Lab: BCI ของคณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล ในการทดสอบอัตราการรอดชีวิตของยีสต์และวิเคราะห์ด้วย Survivor Assay ในชั้นบรรยากาศ Startosphere
การลอยอยู่ของบอลลูน ตามสภาพอากาศปกติอยู่ประมาณ 5-6 ชั่วโมง ก็จะตกลงบนพื้นดิน ซึ่งทิศทางการเคลื่อนที่ใกล้และไกลก็จะเป็นไปตามความเคลื่อนไหวของลม หากสภาพอากาศผิดปกติบางครั้งอาจจะตกลงเร็วกว่ากำหนด หรือนานกว่ากำหนดกว่า 1 สัปดาห์ ขณะที่ทิศทางความเคลื่อนไหวก็จะสามารถตรวจสอบได้ทางสัญญาณภาพและวิดีโอที่ส่งลงมายังคอมพิวเตอร์หรือจอมือถือด้านล่าง
คณะนักเรียนและผู้เชี่ยวชาญเข้าร่วมการทดสอบ ประกอบด้วย
ผู้เชี่ยวชาญ
1. พลเอกปัญจะ ธรรมศรี ประธานที่ปรึกษาหลักสูตร วิศวกรรมป้องกันประเทศ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
2. นาวาอากาศโท ศศิศ เชื้อสมบูรณ์ นักวิจัย ศูนย์การเรียนรู้โลกและอวกาศ
3. รองศาสตราจารย์ ดร.ยศชนัน วงศ์สวัสดิ์
4. นายสุเมธ กล่อมจิตเจริญ นักศึกษาปริญญาเอก คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
สถาบันเทคโนโลยีการบินและอวกาศโรงเรียนอัสสัมชัญ
1. ภราดา คฑาวุธ สิทธิโชคสกุล ผู้จัดการโรงเรียนอัสสัมชัญ
2. นายปิติภูมิ อาชาปราโมทย์ ม.6/1
3. นายฆฤณ กวีวงศ์สุนทร ม.6/3
4. นายอัครนิรุทธิ์ ปานเดช ม.6/5
5. นายบุญฤทธิ์ ปฐมนันทพงศ์ ม.5/1
6. นายกฤยชญ์ สวิง ม.5/1
7. นายเวธน์วศิน ศิริรันต์อัสดร ม.5/1
8. นายณรงค์ภัทร ราศรีเพ็ญงาม ม.5/1
9. นายพุทธิพงศ์ สวัสดิบุญหนา ม.5/1
10. นายศรัณพร ธนพัฒน์สิรีธร ม.5/2
11. นายกฤตวัฒน์ ปุญญพัฒนกุล ม.5/4
12. นายริชภูมิ อุดมพรวิรัตน์ ม.5/4
13. นายพศิน ตันติรัฐพงศ์ ม.5/4
โดยมี มิสศศิธร ชาวระหาญ มิสจุฑามาส ยิ่งประทานพร มาสเตอร์ณัฐกิตติ์ ขวัญกิจพิศาล มาสเตอร์พชร ภูมิประเทศ เป็นที่ปรึกษา
สำหรับกิจกรรมดังกล่าว ได้เริ่มดำเนินการครั้งแรก เมื่อเกือบ 4 ปีที่ผ่านมา เพื่อการพัฒนาของเด็กเยาวชนคนรุ่นใหม่ที่สนใจศึกษา ซึ่งในอนาคตก็อาจจะเปิดเป็นหลักสูตรการเรียนการสอนต่อไป ซึ่งได้รับความสนใจจากเด็ก ๆ จำนวนมาก
ชมคลิปบรรยากาศการปล่อยบอลลูนได้ที่
https://www.facebook.com/AssumptionCollege1885/videos/691350709122530
#AC_Uniqueness_Excellence
#AC_InnovativeEntrepreneurship
------------------------------------------
Website : https://www.assumption.ac.th
Fanpage : https://www.facebook.com/AssumptionCollege1885
Fanpage : https://www.facebook.com/ACsportsTeam
Line@ Official (@assumption1885) : https://lin.ee/AgVkwFD
Instagram : https://www.instagram.com/assumption_style
YouTube : https://www.youtube.com/AssumptionCollege1885
จำนวนภาพในอัลบั้มนี้ 10 ภาพ
ข่าวที่นำอัลบั้มนี้ไปอ้างอิง (จำนวน 0 ข่าว ) หน่วยงานที่นำอัลบั้มนี้ไปอ้างอิง (จำนวน 0 หน่วยงาน ) แผนงาน (จำนวน 0 แผนงาน ) โครงการ (จำนวน 0 โครงการ ) ผู้ถ่ายภาพ: ไม่ได้แจ้งในระบบ ผู้ถ่ายภาพนักเรียน: ไม่ได้แจ้งในระบบ ผู้โพสต์: กำหนดการที่นำไปอ้างอิง : รายชื่อผู้ร้องขอไฟล์ภาพต้นฉบับ (ความละเอียดสูง) |
วันที่โพสต์ : 13 ธ.ค. 2565 วันที่ถ่ายภาพ : 11 ธ.ค. 2565