เมื่อวันที่ 16 ธันวาคม พ.ศ. 2559 ภราดา ดร.เดชาชัย ศรีพิจารณ์ ผู้อำนวยการ โรงเรียนอัสสัมชัญ เป็นประธานกล่าวเปิด ภราดาวิทยา เทพกอม รองผู้อำนวยการ/ที่ปรึกษาฝ่ายวิชาการ กล่าวปิด การอบรมเชิงปฏิบัติการหัวข้อ " การจัดการเรียนรู้แบบ STEM Education สอนอย่างไรให้เป็น Active Learning ตามมาตรฐานสากล" ให้กับคุณครูผู้สอน ครูแนะแนว และครูสนับสนุนฝ่ายวิชาการ โดยได้รับเกียรติจาก ดร.บุญยฤทธิ์ ปิยศรี ข้าราชชำนาญการ/ครูโรงเรียนซับใหญ่วิทยาคม จังหวัดชัยภูมิ พร้อมด้วย ดร.ศักดิ์สิน โรจน์สราญรมย์ ประธานกรรมการบริหารสถาบันพัฒนาคุณภาพวิชาการ (พว.) เป็นวิทยากรให้ความรู้แก่คณะครูที่เข้ารับการอบรมครั้งนี้ ณ ห้อง Auditorium ชั้น 9 อาคาร Assumption 2003 โรงเรียนอัสสัมชัญ เขตบางรัก กรุงเทพมหานคร
สำหรับสะเต็มศึกษา (STEM Education) คือ แนวทางการจัดการเรียนรู้ที่บูรณาการความรู้ใน 4 วิชาได้แก่ วิทยาศาสตร์ (Science) เทคโนโลยี (Technology) วิศวกรรมศาสตร์(Engineering) และคณิตศาสตร์ (Mathematics) หมายถึงองค์ความรู้ วิชาการของศาสตร์ทั้งสี่ที่มีความเชื่อมโยงกันในโลกของความเป็นจริงที่ต้องอาศัยองค์ความรู้ต่างๆ มาบูรณาการเข้าด้วยกันในการดำเนินชีวิตและการทำงาน
จำนวนภาพในอัลบั้มนี้ 160 ภาพ
ข่าวที่นำอัลบั้มนี้ไปอ้างอิง (จำนวน 0 ข่าว )
หน่วยงานที่นำอัลบั้มนี้ไปอ้างอิง (จำนวน 0 หน่วยงาน )
แผนงาน (จำนวน 0 แผนงาน )
โครงการ (จำนวน 0 โครงการ )
ภาพโดยนักเรียน: ไม่ได้แจ้งในระบบ
วันที่โพสต์ : 19 ธ.ค. 2559 วันที่ถ่ายภาพ : ไม่ระบุ
เมื่อวันที่ 16 ธันวาคม พ.ศ. 2559 ภราดา ดร.เดชาชัย ศรีพิจารณ์ ผู้อำนวยการ โรงเรียนอัสสัมชัญ เป็นประธานกล่าวเปิด ภราดาวิทยา เทพกอม รองผู้อำนวยการ/ที่ปรึกษาฝ่ายวิชาการ กล่าวปิด การอบรมเชิงปฏิบัติการหัวข้อ " การจัดการเรียนรู้แบบ STEM Education สอนอย่างไรให้เป็น Active Learning ตามมาตรฐานสากล" ให้กับคุณครูผู้สอน ครูแนะแนว และครูสนับสนุนฝ่ายวิชาการ โดยได้รับเกียรติจาก ดร.บุญยฤทธิ์ ปิยศรี ข้าราชชำนาญการ/ครูโรงเรียนซับใหญ่วิทยาคม จังหวัดชัยภูมิ พร้อมด้วย ดร.ศักดิ์สิน โรจน์สราญรมย์ ประธานกรรมการบริหารสถาบันพัฒนาคุณภาพวิชาการ (พว.) เป็นวิทยากรให้ความรู้แก่คณะครูที่เข้ารับการอบรมครั้งนี้ ณ ห้อง Auditorium ชั้น 9 อาคาร Assumption 2003 โรงเรียนอัสสัมชัญ เขตบางรัก กรุงเทพมหานคร
สำหรับสะเต็มศึกษา (STEM Education) คือ แนวทางการจัดการเรียนรู้ที่บูรณาการความรู้ใน 4 วิชาได้แก่ วิทยาศาสตร์ (Science) เทคโนโลยี (Technology) วิศวกรรมศาสตร์(Engineering) และคณิตศาสตร์ (Mathematics) หมายถึงองค์ความรู้ วิชาการของศาสตร์ทั้งสี่ที่มีความเชื่อมโยงกันในโลกของความเป็นจริงที่ต้องอาศัยองค์ความรู้ต่างๆ มาบูรณาการเข้าด้วยกันในการดำเนินชีวิตและการทำงาน
จำนวนภาพในอัลบั้มนี้ 160 ภาพ
ข่าวที่นำอัลบั้มนี้ไปอ้างอิง (จำนวน 0 ข่าว ) หน่วยงานที่นำอัลบั้มนี้ไปอ้างอิง (จำนวน 0 หน่วยงาน ) แผนงาน (จำนวน 0 แผนงาน ) โครงการ (จำนวน 0 โครงการ ) ผู้ถ่ายภาพ: ผู้ถ่ายภาพนักเรียน: ไม่ได้แจ้งในระบบ ผู้โพสต์: กำหนดการที่นำไปอ้างอิง : รายชื่อผู้ร้องขอไฟล์ภาพต้นฉบับ (ความละเอียดสูง) |
วันที่โพสต์ : 19 ธ.ค. 2559 วันที่ถ่ายภาพ : ไม่ระบุ